มาตรวัด ระดับการวัดตัวแปรการวิจัย 4 ระดับ มีอะไรบ้าง
ระดับการวัดตัวแปร คืออะไร?ระดับการวัดตัวแปร คือ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยกลุ่มประชากรของ มนุษย์ สัตว์ และสิ่งของ และอื่น ๆ ที่ทางนักวิจัยได้ทำการคัดเลือกขอบเขตพื้นที่การศึกษาเอาไว้ ถูกนำไปเป็นข้อมูลดิบสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ , ศึกษาความสัมพันธ์ หรือกำหนดกลุ่มตัวอย่างประเภท โดยใช้ตัวเลขเป็นตัวกำหนดกฎเกณฑ์ระดับการวัดค่าตัวข้อมูลที่มีความตอบสนองกับตัวแปรเป็นหลัก การนำกลุ่มตัวเลขจำนวนนี้ สามารถถูกนำใช้ในการออกแบบแบบสอบถามที่ใช้ในงานวิจัย เพื่อค้นหาคำตอบสิ่งที่นักวิจัยทำการสมมุติฐาน ที่มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ได้รับการจัดตั้งเอาไว้ เพราะสิ่งสำคัญของการใช้มาตรวัดตัวแปรวิจัยคือ ผู้ออกแบบต้องเข้าใจลักษณะข้อมูล และการนำตัวแปรประเภทต่าง ๆ ก่อนนำไปใช้วิธีมาตรวัดทางสถิติที่เหมาะสม การวัดโดยใช้ตัวแปรเหล่านี้ มีระดับการวัดของข้อมูลที่แตกต่างและให้ค่าผลลัพธ์ที่ไม่เหมือนกัน เนื่องจากมาตรวัดทางสถิติสามารถจำแนกอย่างเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณมนรูปแบบข้อมูลวงกว้าง จึงทำให้มีตัวอย่างระดับการวัดตัวแปร 4 ระดับ ดังนี้
Nominal ScaleNominal Scale (มาตรวัดนามบัญญัติ) คือ ระดับการวัดข้อมูลที่กำหนดตัวเลข แปลงค่าเป็นคุณลักษณะต่าง ๆ ในหมวดหมู่ของกลุ่มตัวแปรที่ได้รับการจัดจำแนกไว้เรียบร้อย โดยตัวเลขที่ถูกกำหนดจากกลุ่มแต่ละตัวแปรที่มีคุณสมบัติที่ไม่เหมือนกันกันนั้น มีความหมายที่แตกต่างแต่มีหน่วยที่มีค่าเท่ากัน ไม่สามารถคำนวณ บวก ลบ คูณ และหาร ให้เกิดผลลัพธ์รูปแบบอื่น และไม่สามารถจัดเรียงลำดับข้อมูลมากไปน้อยได้ เนื่องจากมาตรวัดนามบัญญัติถูกเป็นเครื่องมือใช้ในการวิจัยสำหรับกำหนดตัวเลขแทนสัญลักษณ์ของการคัดแยกของกลุ่มตัวแปรแต่ละคำตอบของการทำแบบสอบถามแต่ละโจทย์ให้ทราบถึงความแตกต่างได้ชัดเจน เข้าใจง่าย และทำให้นักวิจัยสามารถจัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการวิเคราะห์ในระดับผิวเผินนี้ ทำการแบ่งกลุ่มตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง
ยกตัวอย่างการแบ่งกลุ่มย่อยของมาตรวัดนามบัญญัติ เช่น
จึงกำหนดให้; เพศชาย = 1 , เพศหญิง = 2
จึงกำหนดให้; น้ำเปล่า = 1 , กาแฟ = 2 , น้ำผลไม้ = 3 , น้ำอัดลม = 4 , เกลือแร่ = 5
จึงกำหนดให้; หมอ = 1 , พยาบาล = 2 , จิตอาสา = 3 , นักกิจกรรมบำบัด = 4
Ratio ScaleRatio Scale (มาตรวัดอัตราส่วน) คือ ระดับการวัดข้อมูลที่มีลักษณะเช่นเดียวกับมาตรวัดนามบัญญัติ ที่ใช้ตัวเลขเป็นตัวแทนกำหนดตัวแปรแต่ละหมวดหมู่ และไม่สามารถคำนวณ บวก ลบ คูณ และหาร ให้เกิดผลลัพธ์รูปแบบอื่นได้ แต่สิ่งที่แตกต่างจากมาตรวัดที่กล่าวไปก่อนหน้านั้น มีคุณสมบัติที่เห็นได้เด่นชัดคือ สามารถจัดเรียงลำดับกลุ่มตัวแปรในการชี้นำคำตอบก่อนและหลังของผู้ทำแบบสอบถามได้ตามระเบียบ ซึ่งมาตรวัดอัตราส่วนเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสำหรับการออกแบบสอบภามประเภทสเกลการวัดระดับความชอบนิยมของกลุ่มเป้าหมายตั้งแต่มากจนไปถึงน้อยที่สุด หรือเป็นระดับการวัดตัวแปรประเภทที่ใช้ตัวเลขแทนค่าลำดับ 1 , 2 หรือ 3 ในการให้คำตอบได้อีกหนึ่งรูปแบบของการให้คะแนน ยกตัวอย่างการแบ่งกลุ่มย่อยของมาตรวัดอัตราส่วน เช่น -ผลการสอบ Admission ประจำปี 2565 ให้ผู้สมัครสามารถเลือก เลือกคณะ/สาขา/สถาบัน ได้สูงสุด 10 อันดับ จึงกำหนดให้; ผู้ทำเขียน
-ต้องการทราบระดับความพอใจ(likert scale)ของลูกค้าที่ใช้บริการร้านอาหาร Macdonald โดยภาพรวม จึงกำหนดให้; พึงพอใจมาก = 5 , ดีมาก = 4 , ดี = 3 = , พอใช้ = 2 , ไม่พอใจ = 1 , 0 = ปรับปรุง
Interval ScaleInterval Scale (มาตรวัดอันตรภาค) คือ ระดับการวัดข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพที่จัดตามลำดับตัวแปรที่มีระยะห่างของช่วงการวัดหาผลลัพธ์ที่มากกว่าหรือน้อยกว่ากันแค่ไหน ภายใต้ขอบเขตการศึกษาที่ทางนักวิจัยได้สังเขปช่วงระยะการวัดค่าหาผลที่เท่ากัน โดยมาตรวัดประเภทนี้ หน่วยค่าตัวเลขตัว 0 เป็นศูนย์ไม่แท้จริง (Absolute Zero) เนื่องจากเลข 0 ของระดับการวัดตัวแปรนี้หมายถึง ตัวเลขไม่ได้ถูกทำให้ไม่มีความหมาย แต่ถูกทำการสมมุติฐานขึ้นมา สำหรับเป็นแบบวัดผลแบบทดสอบโดยทางนักวิจัยคิดค้นขึ้นมา
A ทำคะแนน 15 คะแนน B ทำคะแนน 13.5 คะแนน C ทำคะแนน 20 คะแนน D ทำคะแนน 0 คะแนน จากการยกตัวอย่างคะแนนนักเรียนทั้ง 4 คน ทำให้ได้ข้อสรุปคือ นักเรียน D ทำคะแนนได้ 0 คะแนน ซึ่งมีความหมายว่า D ไม่ได้ไม่มีความรู้ทางด้านคณิตศาตร์ แต่หากวิชาการสอบทางด้านความน่าจะเป็น ไม่ตรงกับความรู้สิ่งที่นักเรียน D รู้ หากการออกแบบด้านความน่าจะเป็นให้ง่ายมากกว่านี้ นักเรียน D อาจได้คะแนนมากกว่า 0 ได้
Ordinal ScaleOrdinal Scale (มาตรวัดเรียงลำดับ) คือ ระดับการวัดข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในการหาผลลัพธ์มากที่สุดในบรรดาระดับการวัดตัวแปรทั้งหมด เป็นมาตรวัดสำหรับการใช้เทคนิควิเคราะห์ข้อมูลเชิงอนุมานและเชิงพรรณนากับจำนวนตัวแปรได้หลากหลาย รวมถึงการจัดลำดับ และช่วงเวลาของตัวแปรที่ถูกกำหนดแต่ละหน่วยได้เท่ากัน อีกทั้งมาตรวัดนี้สามารถกำหนดค่าของศูนย์สมบูรณ์ได้อีกด้วย มาตราวัดเรียงลำดับนิยมใช้เป็นเครื่องมือในการวิจัยในการคำนวณส่วนแบ่งการตลาด(Market Research) ยอดขายประจำปี ราคาของผลิตภัณฑ์ที่จะเกิดขึ้น และจำนวนผู้บริโภค เพื่อทราบยอดขายได้อย่างเที่ยงตรง จึงเป็นหนึ่งในอุปกรณ์ยอดนิยมที่ทางนักการตลาดขาดไม่ได้ในการหาผลลัพธ์ ยกตัวอย่างการสเกลการวัดของมาตรวัดเรียงลำดับ เช่น
จึงทำให้ทราบคำตอบว่านาย A ไม่มีเงินในบัญชีเลย
|
ถึง บล็อกเกอร์ ทุกท่าน โปรดอ่าน
ด้วยทาง บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ได้ติดต่อขอความร่วมมือ มายังเว็บไซต์และเว็บบล็อกต่าง ๆ รวมไปถึงเว็บบล็อก OKnation
ห้ามให้มีการเผยแพร่ผลงานอันมีลิขสิทธิ์ ของบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ฯ บนเว็บ blog โดยกำหนดขอบเขตของสิ่งที่ห้ามทำ และสามารถทำได้ ดังนี้
ห้ามทำ - การใส่ผลงานเพลงต้นฉบับให้ฟัง ทั้งแบบควบคุมเพลงได้ หรือซ่อนเป็นพื้นหลัง และทั้งที่อยู่ใน server ของคุณเอง หรือ copy code คนอื่นมาใช้ - การเผยแพร่ file ให้ download ทั้งที่อยู่ใน server ของคุณเอง หรือฝากไว้ server คนอื่น สามารถทำได้ - เผยแพร่เนื้อเพลง ต้องระบุชื่อเพลงและชื่อผู้ร้องให้ชัดเจน - การใส่เพลงที่ร้องไว้เอง ต้องระบุชื่อผู้ร้องต้นฉบับให้ชัดเจน จึงเรียนมาเพื่อโปรดปฎิบัติตาม มิเช่นนั้นทางบริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ฯ จะให้ฝ่ายดูแลลิขสิทธิ์ ดำเนินการเอาผิดกับท่านตามกฎหมายละเมิดลิขสิทธิ์
OKNATION
กฎกติกาการเขียนเรื่องและแสดงความคิดเห็น
1 การเขียน หรือแสดงความคิดเห็นใด ๆ ต้องไม่หมิ่นเหม่ หรือกระทบต่อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ หรือกระทบต่อความมั่นคงของชาติ
2. ไม่ใช้ถ้อยคำหยาบคาย ดูหมิ่น ส่อเสียด ให้ร้ายผู้อื่นในทางเสียหาย หรือสร้างความแตกแยกในสังคม กับทั้งไม่มีภาพ วิดีโอคลิป หรือถ้อยคำลามก อนาจาร 3. ความขัดแย้งส่วนตัวที่เกิดจากการเขียนเรื่อง แสดงความคิดเห็น หรือในกล่องรับส่งข้อความ (หลังไมค์) ต้องไม่นำมาโพสหรือขยายความต่อในบล็อก และการโพสเรื่องส่วนตัว และการแสดงความคิดเห็น ต้องใช้ภาษาที่สุภาพเท่านั้น 4. พิจารณาเนื้อหาที่จะโพสก่อนเผยแพร่ให้รอบคอบ ว่าจะไม่เป็นการละเมิดกฎหมายใดใด และปิดคอมเมนต์หากจำเป็นโดยเฉพาะเรื่องที่มีเนื้อหาพาดพิงสถาบัน 5.การนำเรื่อง ภาพ หรือคลิปวิดีโอ ที่มิใช่ของตนเองมาลงในบล็อก ควรอ้างอิงแหล่งที่มา และ หลีกเลี่ยงการเผยแพร่สิ่งที่ละเมิดลิขสิทธิ์ ไม่ว่าจะเป็นรูปแบบหรือวิธีการใดก็ตาม 6. เนื้อหาและความคิดเห็นในบล็อก ไม่เกี่ยวข้องกับทีมงานผู้ดำเนินการจัดทำเว็บไซต์ โดยถือเป็นความรับผิดชอบทางกฎหมายเป็นการส่วนตัวของสมาชิก คลิ้กอ่านเงื่อนไขทั้งหมดที่นี่"
OKnation ขอสงวนสิทธิ์ในการปิดบล็อก ลบเนื้อหาและความคิดเห็น ที่ขัดต่อความดังกล่าวข้างต้น โดยไม่ต้องชี้แจงเหตุผลใดๆ ต่อเจ้าของบล็อกและเจ้าของความคิดเห็นนั้นๆ
|
||
![]() ![]() |
<< | มิถุนายน 2022 | >> | ||||
อา | จ | อ | พ | พฤ | ศ | ส |
1 | 2 | 3 | 4 | |||
5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 |
12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 |
19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 |
26 | 27 | 28 | 29 | 30 |