(จาก Quotes by Henry George ที่ http://members.aol.com/_ht_a/tma68/george.htm ข้อ 1, 11 และ 20) [ทรัพย์ในบทความนี้หมายถึงเศรษฐทรัพย์ (wealth) คือ วัตถุทั้งหลายนอกเหนือจากตัวมนุษย์ ซึ่งผลิตขึ้นด้วยแรงงานมนุษย์ เพื่อใช้บำบัดความต้องการของมนุษย์ หรือช่วยในการผลิตสิ่งที่มนุษย์ต้องการ และมีมูลค่าในการแลกเปลี่ยน (แต่ศัพท์บัญญัติ อังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน รุ่น 1.1 แปล wealth ว่า ความมั่งคั่ง.... |
(ส่วนที่กล่าวไว้ในเรื่องนี้เป็นของสำนักเฮนรี จอร์จ ผมนำมาลงเฉพาะคำจำกัดความและตัวกฎ มีอธิบายเพิ่มเล็กน้อย ถ้าท่านต้องการคำอธิบายมากขึ้นก็โปรดดูหนังสือ ความยากจนที่ไม่เป็นธรรม เศรษฐศาสตร์ที่ลงถึงราก ที่ http://utopiathai.webs.com/UnjustPoverty.html หรือดูภาษาอังกฤษได้ที่ http://www.henrygeorge.org/def2.htm นิยามศัพท์ถือว่าสำคัญ เพราะจะต้องแยกให้เห็นความแตกต่างได้ชัดเจนระหว่าง ทุน กับ ที่ดิน และผลตอบ.... |
สุธน หิญ (ยินดีให้เผยแพร่ต่อด้วยความขอบคุณ) คนทั่วไปพอมีเงินขึ้นมาก็จะพากันหาซื้อที่ดินเก็บไว้ ถ้าเป็นรายย่อยก็อาจเป็นเพียงสองสามเท่าของที่ดินที่แต่ละคนควรมี เมื่อบวกกับการเก็งกำไรของรายใหญ่อีกจำนวนมาก ซึ่งบางรายมีที่ดินรวมเป็นมูลค่านับร้อยล้านบาท ก็ทำให้ราคาที่ดินทั่วไปสูงกว่าที่ควรมาก และหมายถึงว่าคนอีกส่วนหนึ่ง ซึ่งเป็นคนจนฐานล่างของสังคม จะไม่มีที่ดินเพียงพอสำหรับการอยู่อาศัยและทำกิน และต้องเช่าท.... |
ถ้อยคำที่สำคัญที่สุดที่เคยมีในทางเศรษฐศาสตร์นั้น เฮนรี จอร์จ นักเศรษฐศาสตร์อเมริกันแห่งศตวรรษที่ 19 เขียนไว้ในหนังสือ Social Problems (http://schalkenbach.org/library/henry-george/spcont.html ) บทที่ 8 ย่อหน้าที่ 21 คือ ในธรรมชาติไม่มีเหตุผลที่จะมีความยากจน (There is in nature no reason for poverty.) ระบบตลาดเสรีที่แท้มีความประสานสอดคล้องกันในสังคมและกับธรรมชาติ แรงงานมนุษย์ (แรงสมอง+แรงกาย) คือขีด.... |
(สุธน หิญ แปลจากเรื่อง HENRY GEORGE Social Philosopher and Political Economist โดย Dr Joseph Milne, University of Kent, UK ที่ http://www.users.globalnet.co.uk/~alfar2/george.htm ) ถ้าคนเราใช้ชีวิตตามกฎธรรมชาติ เขาจะมีเสรีภาพที่จะได้รื่นรมย์กับการกลายเป็นจริงอย่างเต็มที่แห่งพรสวรรค์ของเขาและความไฝ่ฝันแต่กำเนิด แต่การใช้ชีวิตตามกฎธรรมชาติหมายถึงเราจะต้องสังเกตบรรดากฎแห่งธรรมชาติและคิดหาเหตุผลไปตลอด โด.... |
(จากบทบรรณาธิการ The Progress Report เรื่อง Efficiency, Equity, Sustainability โดย Fred E. Foldvary บรรณาธิการอาวุโส ที่ http://www.progress.org/2006/fold452.htm เว็บไซต์ของ Foldvary เองคือ http://www.foldvary.net) เราต้องการอะไรจากระบบเศรษฐกิจของเรา? สิ่งที่คนส่วนมากต้องการนั้นสรุปรวมได้เป็นเป้าหมายทางเศรษฐกิจ 3 ประการ คือ ประสิทธิภาพ ความเที่ยงธรรม และ ความยั่งยืน ประสิทธิภาพคืออัตราส่วนระหว่างผลผล.... |
(จาก PRINCIPLES OF SOUND TAX THEORY AS HAVE EVOLVED OVER 200 AND MORE YEARS by H. William Batt, Ph.D. Albany, New York ที่ www.progress.org/cg/battprincip02.htm สุธน หิญ) ปัจจุบันนักทฤษฎีภาษีมักจะประเมินโครงสร้างรายได้ด้วยเกณฑ์ (criteria) 7 ประการ คือ 1. ความเป็นกลาง (neutrality) 2. ประสิทธิภาพ (efficiency) 3. ความเที่ยงธรรม (equity) 4. ความสามารถบริหารได้ (administrability) 5. ความเรียบง่าย (simpl.... |
เมื่อกว่า 130 ปีมาแล้ว (ค.ศ. 1879 หรือ พ.ศ. 2422) หนังสือ Progress and Poverty ได้รับการตีพิมพ์ออกมาและกลายเป็นหนังสือขายดีที่สุดในโลกในขณะนั้น ยกเว้นเป็นรองแต่เพียงจากพระคริสต์ธรรมคัมภีร์เท่านั้น และได้รับการแปลออกเป็นภาษาต่าง ๆ มากหลาย ผู้เขียนหนังสือนี้คือชาวอเมริกัน ชื่อ Henry George ซึ่งได้โต้วาทีกับผู้นำฝ่ายสังคมนิยมในนิวยอร์กและลอนดอนเมื่อ 8 และ 10 ปีต่อมา หนังสือ Progress and Poverty หนา 565 .... |
(จากเรื่อง The Natural Laws of Economics โดย ศ. ดร. Fred E. Foldvary บรรณาธิการอาวุโส The Progress Report ดังปรากฏใน http://www.progress.org/2004/fold379.htm) กฎธรรมชาติคือประพจน์หรือข้อเสนอ (proposition) อันเป็นสากลหรือเป็นการทั่วไปสำหรับเนื้อหาวิชา (subject matter) หนึ่งๆ กฎธรรมชาติทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยประพจน์ต่างๆ ที่อธิบายความสม่ำเสมอ (regularities) ที่สังเกตเห็น ทางเศรษฐศาสตร์ก็มีความสม่ำเสมอ.... |
หลวงพ่อ Edward McGlynn (ค.ศ.1837 - 1900) แห่งโบสถ์ St. Stephen’s นครนิวยอร์ก ได้รณรงค์สนับสนุนแนวคิดของเฮนรี จอร์จ ในปัญหาที่ดินของไอร์แลนด์ ซึ่งก็ได้ถูกอาร์ชบิชอปผู้ดูแลพื้นที่สั่งให้หยุดและเลิกการรณรงค์โดยถือว่าแนวคิดของจอร์จขัดกับคำสอนของโรมันคาทอลิก ครั้นถึงคราวที่จอร์จสมัครเข้าแข่งขันรับเลือกตั้งเป็นนายกเทศมนตรีนครนิวยอร์กตามคำขอของกลุ่มองค์การแรงงาน 165 แห่งใน ค.ศ.1886 หลวงพ่อได้รณรงค์สนั.... |
(เรียงตามวันเดือนปีเกิด) Confucius (ขงจื๊อ 551-479 BC): เมื่อมหามรรคามีชัย ก็มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างเต็มที่เพื่อทุกคน โดยไม่มีการถือเอาไปเป็นประโยชน์ส่วนตัว . . . นี่คือยุคแห่งทรัพย์สินร่วมกันอันยิ่งใหญ่แห่งสันติภาพและความรุ่งเรือง [1] Plato (427-347 BC): เมื่อมีภาษีเงินได้ ผู้ที่ยุติธรรมจะจ่ายมากกว่า และผู้ไม่ยุติธรรมจะจ่ายน้อยกว่า สำหรับรายได้จำนวนเท่ากัน [2] Aristotle (384-322 BC).... |
Geoism, Geonomics, Gaianomics, Georgism, Single Tax, Impot Unique สุธน หิญ (post เป็นครั้งแรกใน [email protected] เมื่อ 16/02/2004) คำที่เรียงเป็นชื่อเรื่องไว้นั้นมีความหมายเดียวกัน และยังมีคำพวกเดียวกันอีก เท่าที่พอนึกออกก็คือ Land Value Taxation, Site Value Rating, Ground Rent Collection, Land Value Recapture, Resource Rentals ในแบบเรียนเศรษฐศาสตร์ของศาสตราจารย์ ดร. Foldvary (foldvary.net/sciecs/ch19.ht.... |
วิธีแก้ความยากจนท่ามกลางความก้าวหน้า (คำของเฮนรี จอร์จ ตอนภาษีเดี่ยว) 31/08/2004สุธน หิญ แปลจาก Quotes by Henry George ที่ http://members.aol.com/_ht_a/tma68/george.htm (ตอนนี้เป็นตอนที่ 10 ของ 22 ตอนของ Quotes by Henry George) เราเสนอให้ยกเลิกภาษีทุกชนิดยกเว้นภาษีอย่างเดียวที่คิดจากมูลค่าที่ดิน (land values) โดยไม่รวมมูลค่าของสิ่งปรับปรุง (improvements) สิ่งที่เราเสนอมิใช่ภาษีอสังหาริมทรัพย์ (real.... |
จุดมุ่ง:_ยกเลิกความยากจนที่ไม่เป็นธรรมขั้นพื้นฐาน 13/05/2008(ยินดีให้เผยแพร่ต่อด้วยความขอบคุณ แปลจาก What We Stand For คำปราศรัยของ Henry George พฤศจิกายน ค.ศ. 1887 http://www.grundskyld.dk/1-What-we-stand-for.html ) . . . ยกเลิกภาษีทั้งปวงที่บัดนี้เก็บจากแรงงานและผลผลิต แห่งแรงงาน และหันมาเก็บภาษีจากมูลค่าซึ่งเข้าไปเกาะ ติดอยู่กับที่ดินด้วยเหตุที่ชุมชนนั้นเจริญเติบโตขึ้น . . .จุดมุ่งของพวกเราคือการ.... |
25/02/2009กิจกรรม-ความเจริญของส่วนรวมทำให้ราคาที่ดินสูงขึ้น ๆ แต่ภาษีที่ดินต่ำจึงมีการเก็งกำไรกักตุนที่ดินกันนกว้างขวางทั่วไปโดยไม่ค่อยได้ทำประโยชน์ ที่ดินยิ่งแพงหาที่อยู่ที่ทำกินยาก ค่าแรงก็ยิ่งต่ำ ซ้ำมีภาษีษีเงินได้ รายได้สุทธิยิ่งต่ำ มีภาษีการผลิตการค้า ของยิ่งแพง ยิ่งยากจน ยิ่งอ่อนแอ ตกเป็นเหยื่อนายทุนผู้จ้าง นายทุนเงินกู้ และผู้หลอกลวงต้มตุ๋นได้ง่าย 23/03/2011 ต่อไปนี้คือสาเหตุความยากจนที่ยาวขึ้.... |
ปัจจัยที่สำคัญมากที่จะทำให้ความสามารถแข่งขันกับต่างชาติสูงขึ้นได้ คือ ระบบภาษีเรายอมลดภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุน แต่นั่นอยู่ในวงจำกัดเราควรลดภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนให้ได้กว้างขวางมาก ๆ รวมทั้งการลงแรงกายแรงสมองด้วยนั่นคือค่อย ๆ ลดภาษีเงินได้และภาษีการลงแรงลงทุนเป็นการทั่วไป จนในที่สุดเลิกภาษีเหล่านี้ไปเลยการลด-เลิกภาษีเช่นนี้จะลดความยากจน เพิ่มความมั่งมี สินค้าก็ราคาถูกลง และผู้คนจะมีกำลังใจผลิตสูงข.... |
<< | มิถุนายน 2011 | >> | ||||
อา | จ | อ | พ | พฤ | ศ | ส |
1 | 2 | 3 | 4 | |||
5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 |
12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 |
19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 |
26 | 27 | 28 | 29 | 30 |